รัฐบาลได้ประกาศ 12 สิงหาคม ถือเป็นวันแม่แห่งชาติ นับแต่อีพุทธศักาช2519 และในวันมหาฤกษ์อันสำคัญ ที่ตรงกับนแม่แห่งชาติ12 สิงหาคม2549 อาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย หัวหน้าคณะนาฏศิลปเยาวชนแห่งศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิงสำนักวัดกู่คำ ลำปาง ได้มีโอกาสนำคณะไปแสดง ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านเยาวชนนานาชาติครั้งที่ 11 เครือข่าย CIOFF ไต้หวัน เป็นรอบที่สอง ระหว่างวันที่ 1-20 สิงหาคม 2549
การแสดงครั้งนี้ มีชาติต่างๆไปแสดงรวม 28 ประเทศ นับเป็นครั้งแรกของนักแสดงนานาชาติที่ ได้มีโอกาสเห็นเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาไทย ซึ่งแต่ละประเทศนั้น ไม่มีกฏระเบียบให้แต่งเครื่องบบเหมือนของไทย ซึ่งคณะจุมสะหรีลำปางได้มีแผนเตรียมไว้ก่อนเดินทาง ซ้อมคณะแสดงที่ไต้หวันแสดงชุดอัญเชิญพระรูปฉายของสมเด็จพระบรมราชินีนาถ พร้อมอัญเชิญเพลงพระราชนิพลนธ์ Alexandra ประกอบนาฏลีลานักเรียนนักศึกษานำชุดเครื่องแบบอันสง่างามประจำแต่ละสถาบันการศึกษาได้เตรียมติดตัวไปด้วย ภาพประวัติศาสตร์วันแม่แห่งชาติไทยที่ลำงฝากไว้ที่ไต้หวันในนามตัวแทนจากประเทศไทย ปี 2549 นาฏศิลป์จุมสะหรีลำปางได้แต่งชุดประจำสถาบัน คือวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ ซึ่งเป็นคู่ฝาแฝดเกาะคาลำปาง ชุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ชุดโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลับ ชุดโรงเรียนลำปางกัลยาณี ชุดโรงเรียนเขลางค์นคร ชุดโรงเรียนอรุโณทัย ชุดโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง ชุดโรงเรียนผดุงวิทย์ และชุดโรงเรียนอนุบาลลำปาง
คณะนาฏศิลป์ชื่อภาษาคำเมือง วันแม่แห่งชาติจุมสะหรีวัดกู่คำ รวม 14รายชื่อ พร้อมผู้ใหญ่ 1 ท่าน คืออาจารย์ศักดิ์ เป็นสักเสริญ รัตนชัย ประธานณะทำงานโครงการเประกวดการตั้งชื่อลูกวันแม่แห่งาติเป็นภาษาคำเมือง ตามพระราชเสาวนีย์ขอบใจ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ที่ รล 0010.1/5082 ลงวันที่15กรกฎาคม2547 ได้รับราชานุญาตนำกเรียนและบุคลากรเข้าเฝ้าถวายรายงานกับสมเด็จพระเทพ รัตนาสุดาสยามบรมราชกุมารี คราวเสด็จพระราชทานทรงเปิดโครงการฯของวิทยาเขตราชมงคลฯ ณ วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ตามหนังสือของประธานสภาวัฒนธรรมจังหวยัดลำปาง ที่สวธ.125/2547 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2547รวม 14 รายชื่อคือ (1) นางสาวบัวริน(เกศรินทร์)บุญเลิศ ร.ร.ท.3บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (2)นางสาวปราถณา(ผาถะณา/พรรณนิภา) จันทร์สุปลูก ร.ร.ท.3 บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (3) นางสาวน้ำทิพย์ จันทร์สุปลูก ร.ร.ท.3 บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (4) เด็กหญิงสร้อยแก้ว (สุกัญญา) เครื่องนิจ ร.ร.เค็นเน็ตแม็คเค็นซี-ร.ร.บุญวยาทย์วิทยาลัย (5) เด็กหญิงเกี๋ยงงเหมย
(บุรินทร์)เทียบรัตน์ ร.ร.อนุบาลลำปาง (6)เด็กหญิงปิมผะฟยา(พรรณิการ์)วงศ์มี ร.ร.อนุบาลฃลำปาง (7) เด็กหญงช่อเอื้อง (รัติกาล)รัตนชัย ร.ร.อนุบาลลำปาง(8) ด.ญ.เอื้องฟ้า (ณัฐกาล) เนื่องยินดี ร.ร.ผดุงวิทย์ (9) เด็กหญิงกิ่งแก้ว(ณัฐกุล) เนื่องยินดี ร.ร.ผดุงวิทย์ (10) เด็กหญิงตาลทิพย์ (จิรนันท์)พรมมูล ร.ร.ไตรภพวิทยา (11) เด็กหญิงช่อคำ (ปริมประภา) ขัดธิพงษ์ ร.ร.เขลางค์นคร (12) เด็กหญิงเก็ตถวา (โชษิตา) แก้วคำดี ร.ร.อัสสัมชัญลำปาง (13) เด็กหญิง
ประกายแก้ว (รัชนิดา) ปะระมะ และ(14) เด็กหญิงประกายคำ(วิภาดา)ปะระมะ ร.ร.เพ็ญจิตตพงษ์ เกาะคา
บุลากรร่วมกิจกรรมจากศูนย์แม่อักขระศิลปะข่งเจิงคือ (1) อาจารย์ศักเสริญ (ศักดิ์) รัตนชัย กรรมการสภาวัฒนธรรม หัวหน้าศูนย์ฯ (2)อาจารย์นงนุช ป่าเขียว สำนักวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง (3) อาจารย์ธิตารีย์ ตันสุรัน์ ร.ร.เทศบาล 3 (4) อาจารย์วิลาวัลย์ปะระมะ ร.ร.เพ็ญจิตตพงษ์ เกาะคา (5)อาจารย์ณัฐพร สำเนียง วิทยากรประจำศูนย์ฯ (6) อาจารย์อัญชลี บุญทรัพย์ วิทยาประจำศูนย์ (7) นางสมคิด เทียบรัตน์ กฟผ.แม่เมาะ(8) นางอำพร พงษ์โสภาวิจิตร ฝ่าย พิธีกรรมประจำศูนย์.
0
งานตำราสอนอักขรธรรมคำเมือง ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สืบเนื่องจากการเผยแพร่อักขรสูตรธรรมคำเมืองปีกาญจนาภิเษก ฉบับต่างๆ
โยนก เป็นผู้ถ่าย ในโอกาสไปประชุมสัมนาประวัติศาสตร์นานาชาติเรื่องไทยศึกษา นครคุนหมิงปี 2533
ศาสตราจารย์ ดร.อุดม วโรดม์สิกจดิตถ์ ประธานพิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องภาษาท้องภิ่นกับความมั่นคงทางสังคม จัดโดยราชบัณฑิตสถาน ร่วยมกับกรมพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท และSIL.Internarion Pestaozzi Children's Foundation ที่จังหวัดเชียงใหม่ 25-26 มิถุนายน 2552
ประติมากรรมครูบามหาเถระ กัญจนาอรญญวสี ฝีมือพระครูวธิตพิพัฒนาภรณ์(มนตรี)วัดพระธาตุสุโทนมงคลคี หมู่ 5 ต.เด่นชัย จ.แพร่ ศรัทธาสร้างไว้บูขาประติมากรรมแม่อักขระ พระมหากังสดาล อ่างสะหรีบัวตอง ปีกาญจนาภิเษก โดยโยมศกดิ์ ส.รัตนชัย เป็นปฐมอบาสกอัญเชิญจากจังหวัดแพร่ สู่จังหวัดลำปาง
ศาสตราจารย์ ดร.อุดม วโรดม์สิกจดิตถ์ ประธานพิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องภาษาท้องภิ่นกับความมั่นคงทางสังคม จัดโดยราชบัณฑิตสถาน ร่วยมกับกรมพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท และSIL.Internarion Pestaozzi Children's Foundation ที่จังหวัดเชียงใหม่ 25-26 มิถุนายน 2552
ประติมากรรมครูบามหาเถระ กัญจนาอรญญวสี ฝีมือพระครูวธิตพิพัฒนาภรณ์(มนตรี)วัดพระธาตุสุโทนมงคลคี หมู่ 5 ต.เด่นชัย จ.แพร่ ศรัทธาสร้างไว้บูขาประติมากรรมแม่อักขระ พระมหากังสดาล อ่างสะหรีบัวตอง ปีกาญจนาภิเษก โดยโยมศกดิ์ ส.รัตนชัย เป็นปฐมอบาสกอัญเชิญจากจังหวัดแพร่ สู่จังหวัดลำปาง
ในปีมหามังคลากาญจนาภิเษก
อักขระนิ้วมือ รูปอักษรคำว่า "นา"ตามวิธีการสอนแนวใหม่ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สู่หลักสูตร รหัสวิชา ภาษาไทยถิ่นเหนือคำเมืองTHAI 102
อักขระนิ้วมือ รูปอักษรคำว่า "นา"ตามวิธีการสอนแนวใหม่ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สู่หลักสูตร รหัสวิชา ภาษาไทยถิ่นเหนือคำเมืองTHAI 102
คณะสังคมศาสตร์ฯมหาวิทยาลัยโยนก และรหัสวิชา 15421111 ภาษาไทยถิ่น Thai Dialects คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
คณะกรรมการพัฒนาอักขรสูตรธรรมคำเมืองฉบับค้นพบปีกาญจนาภิเกสู่แผนการศึกษาทั้งจากสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และ
มหาอักขระปฏิมา อ่างสะหรีบัวตองบูชาแม่อักขระ กับพระแท่นมหากังดาลแม่อักขระบาลี 41 ตัว ณ ศูนย์แม่อักชรศิลปะข่วงเจิงจุมสะหรีลำปางวัดกู
คณะกรรมการพัฒนาอักขรสูตรธรรมคำเมืองฉบับค้นพบปีกาญจนาภิเกสู่แผนการศึกษาทั้งจากสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และ
มหาวิทยาลัยโยนก โดยมีเจ้าคณะจังหวัดลำปางเป็นประธานกรรมการฝ่ายคณะสงฆ์จังหวัดลำปาง ประชุม ณ ห้องเรียน มจร.วิทยาเขตลำปาง
อาจารย์เทิม มีเเต็ม แห่งหอวชิรญาณ ที่ปรึกษาการสร้างตำราอักขรสูตรธรรมคำเมืองฉบับค้นพบปีกาญจนาภิเษกของคณะกรรมการอักขรสูตรลำปาง
มหาอักขระปฏิมา อ่างสะหรีบัวตองบูชาแม่อักขระ กับพระแท่นมหากังดาลแม่อักขระบาลี 41 ตัว ณ ศูนย์แม่อักชรศิลปะข่วงเจิงจุมสะหรีลำปางวัดกู
บทเพลงประกอบการละเล่นชาวอักขริกะ ชัดพยัญชนะ บ ค ห จากคำว่า บ่เกยหัน(ไม่เคยเห็น)
โดยคณะนาฏศิลป์นักเรียนศูนย์แม่อักจขระศิลปะข่วงเจิงบจุมสะหรีลำปาง วัดกู่คำ
ระบำเพลง อักขระ วรรค ก ก๋ะ ขะ ก๊ะ ฆะ งะ (ก ข ค ฆ ง )ของนักเรียนจาก ร.ร.ต่างๆ ณ ศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิง สถานที่นี้สอนเด็กแบบเมตตาศึกษาสงเคราะห์ทุวันเสาร์ อาทิตย์ 10.00-12.00 น.ในความอุปถัมภ์ของเจ้าอาวาสวัด กู่คำ ดำเนินติดต่อกันมาจากยุคสมัยเจ้าอาวาดวัดคะตึกเชียงหมั้น วัดบุญวาทย์วิหาร สู่วยัดกู่คำ นับแต่วันแม่แห่งชาติ จากชื่อศูนย์อบรมพุทธเยาวชนมาเป็นจุมสะหรีรวยมท 53 ปี
ศิลาจารึกครูบามหาป่ากาญจนะอรัญวาสิ จารึกไว้ที่หลวงพระบาง พ.ศ.2379 ที่แตกหายไปเกือบครึ่งแผ่น ทางลำปางได้หาความบัทึกไว้แต่สมัยคณะสำรวจจารึกประเทศพม่าสำรวจไว้ สู่ความอ่านได้สมบูรณ์
(A) พะโตก (B) สะตวง (C) ทุงลวง (D) ขันสาน
มหาอักขรปฏิมา ที่อ่างสะหรีบัวตองน้ำติพย์ วัดกู่คำลำปาง สร้างปีกาญจนาภิเษก น้ำหนัก 5 ตัน
ศิลาจารึก พ.ศ.2045ที่บอกชื่อชนเผ่าท้องถิ่น สมยเป็นข้าทาสกษัตริย์เชียงใหม่ ว่า"คนเมือง"
บทเรียนอักขระทางสื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น คอลัมน์นาทีอักขรธรรม ของ ศักดิ์ ส.รัตนชัย
บทเรียนหน้าแผ่นปก แบบเรียนลัดอักขรธัมม์คำเมือง เทียบตำรา ก กา บาลีไทย ปีกาญจนาภิเษก
บทเรียน บะคำหะ "บ่เกยหัน " คะบะละ "ก็บ่ละ" จากการละเล่นอักขระนิ้วมือ
อาจารย์ศักดิ์ส.รัตนชัย กับเจ้าอาวาสวัดวิชุลหลวง เมืองหลวงพระบาง
ตำรา การละเล่นปฐมวัยอักขริกะ ๑ ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย ในทะเบียนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ภาพจากกรมศิลากร วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าพระราชทานเข็มวันมรดกไทย เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2552 ณ พิพิธภณฑสถานแห่งชาติ จากการคัดเลือกของสำนักศิลปากรที่ 7 น่า โดยมีข้อความในรายงานตอนหนึ่งว่า คิดวิธีสอนอักขระนิ้วมือ..เข้ากับการสาธิตบรรยายในพิธภัณฑ์(เกี่ยวกับอักขระ 12 ขั้นตอนการผลิตสิ่งทอ)แก่ครูและนักเรียนสามารถแพร่ศิลปะการแสดง
อักษรธรรมบาลีภาษาตามอักขรสัณฐานแบบสุโขทัย พบในจารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามณิ พ.ศ.1919 คู่กับอักษรไทยภาษาไทย
ศิลาจารึก นน ๔ วัดช้างค้ำ พ.ศ.๒๐๙๑ เรื่องพระยาเทพฤาไชยสร้างพระวิหารที่น่าน
ระบำเพลง อักขระ วรรค ก ก๋ะ ขะ ก๊ะ ฆะ งะ (ก ข ค ฆ ง )ของนักเรียนจาก ร.ร.ต่างๆ ณ ศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิง สถานที่นี้สอนเด็กแบบเมตตาศึกษาสงเคราะห์ทุวันเสาร์ อาทิตย์ 10.00-12.00 น.ในความอุปถัมภ์ของเจ้าอาวาสวัด กู่คำ ดำเนินติดต่อกันมาจากยุคสมัยเจ้าอาวาดวัดคะตึกเชียงหมั้น วัดบุญวาทย์วิหาร สู่วยัดกู่คำ นับแต่วันแม่แห่งชาติ จากชื่อศูนย์อบรมพุทธเยาวชนมาเป็นจุมสะหรีรวยมท 53 ปี
ศิลาจารึกครูบามหาป่ากาญจนะอรัญวาสิ จารึกไว้ที่หลวงพระบาง พ.ศ.2379 ที่แตกหายไปเกือบครึ่งแผ่น ทางลำปางได้หาความบัทึกไว้แต่สมัยคณะสำรวจจารึกประเทศพม่าสำรวจไว้ สู่ความอ่านได้สมบูรณ์
ในหนังสืออักขรสูตรธรรมคำมือง แบบค้นพบปีกาญจนาภิเษก
(A) พะโตก (B) สะตวง (C) ทุงลวง (D) ขันสาน
มหาอักขรปฏิมา ที่อ่างสะหรีบัวตองน้ำติพย์ วัดกู่คำลำปาง สร้างปีกาญจนาภิเษก น้ำหนัก 5 ตัน
ศิลาจารึก พ.ศ.2045ที่บอกชื่อชนเผ่าท้องถิ่น สมยเป็นข้าทาสกษัตริย์เชียงใหม่ ว่า"คนเมือง"
บทเรียนอักขระทางสื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น คอลัมน์นาทีอักขรธรรม ของ ศักดิ์ ส.รัตนชัย
บทเรียนหน้าแผ่นปก แบบเรียนลัดอักขรธัมม์คำเมือง เทียบตำรา ก กา บาลีไทย ปีกาญจนาภิเษก
บทเรียน บะคำหะ "บ่เกยหัน " คะบะละ "ก็บ่ละ" จากการละเล่นอักขระนิ้วมือ
ณ วัดพระวิชุลหลวงพระบาง
อาจารย์ศักดิ์ส.รัตนชัย กับเจ้าอาวาสวัดวิชุลหลวง เมืองหลวงพระบาง
ตำรา การละเล่นปฐมวัยอักขริกะ ๑ ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย ในทะเบียนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ภาพจากกรมศิลากร วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าพระราชทานเข็มวันมรดกไทย เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2552 ณ พิพิธภณฑสถานแห่งชาติ จากการคัดเลือกของสำนักศิลปากรที่ 7 น่า โดยมีข้อความในรายงานตอนหนึ่งว่า คิดวิธีสอนอักขระนิ้วมือ..เข้ากับการสาธิตบรรยายในพิธภัณฑ์(เกี่ยวกับอักขระ 12 ขั้นตอนการผลิตสิ่งทอ)แก่ครูและนักเรียนสามารถแพร่ศิลปะการแสดง
อักษรธรรมบาลีภาษาตามอักขรสัณฐานแบบสุโขทัย พบในจารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามณิ พ.ศ.1919 คู่กับอักษรไทยภาษาไทย
ศิลาจารึก นน ๔ วัดช้างค้ำ พ.ศ.๒๐๙๑ เรื่องพระยาเทพฤาไชยสร้างพระวิหารที่น่าน
ผู้นวยการสถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2539
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น