ออกอากาศรายการเสมาพัฒนา FM97Mhz สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยลำปาง
เป็นประจำทุกวันอาทิตย์ เวลา 20.30-21.00 น. การสอนเพลงประกอบลีลาท่ารำตำนาน
แก่เด็กตั้งแต่อนุบาลขึ้นมา ในภาพนี้มีอาจารย์ศักดิ์ สักเสริญ รัตนชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และอาจารย์จันทนา (แมว) วงษ์คำ โรงเรียนห้างฉัตรวิทยา แม่ ด.ญ.ตังเม ในกลุ่ม
จากศิลปะลานวัดสู่โรงเรียนฯ แม่ท่าฟ้อนจุมสะหรี แบบ ฝัดพ่างข้าง
โครงการสำนักวัฒนธรรมจังหวัดสู่ค่ายเจดีย์ซาว "แม่ท่าฟ้อนจุมสะหรีแบบสาวขุมตีน"
v
อาจารย์ยุพิน สหะชีพ ช่วยสอนรำแม่บท ไทย และขับร้องเพลง
โครงการสำนักวัฒนธรรมจังหวัดสู่ค่ายเจดีย์ซาว "แม่ท่าฟ้อนจุมสะหรีแบบสาวขุมตีน"
v
อาจารย์ยุพิน สหะชีพ ช่วยสอนรำแม่บท ไทย และขับร้องเพลง
เป็นปีสิงหาคมสุดท้าย ที่ศิลปินน้อยที่น่ารักคนหนึ่งของจุมสะหรีต้องจากไป(คนที่ถัดจากหนูน้อยผู
โบว์กลางแถวหน้า) คือน้องภี ลูกของ ดร.ศรีศุกร นิลกรรณ ประธานกลุ่มแม่ลูก น้องภีเป็นนัก
เรียนโรงเรียนประชาวิทย์ มีสามพี่น้องคนพี่คือน้องไม้ ตายพร้อมน้องภีด้วยอุบัติเหตุรถยนต์ชนกันที่บ้านแลงเหลือไว้แต่น้องช้างคนเล็กชื่อ ชาวจุมสะหรีร่วมเสียใจอย่างสุดซึ้ง ร่วมเห็นใจเสียใจแด่คุณแม่ของน้องภี
น้องไม้อย่างสุดประมาณ
แสดงรับการประชุมใหญ่สมาคมหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาคแห่งประเทศไทย โดยมีนายกสมาคมหนังสือพิมพ์
แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถ้มภ์มาร่วมดูด้วย ณ หอประชุมสโมสรช่วงโปโล เทศบาลเมืองลำปาง
ผู้รับบทเศรษฐี พ่อแม่นางเอกอมราคือ เศรษฐแม่ วัลลภา แอบเงิน แห่ง TV11 เศรษฐีพ่อคือ ศักดิ์ รัตนชัย
ผู้จัดรายการศิลปินหรรษา TV 11 บทละครอมราครั้งแรกนี้ใช้จินตลีลานางระบำประกอบเสียงบรรยาย
ของสมหมาย ถาวิกุล เสริมจินตนาการถึงอมราโดยไม่มีบทสำหรับตัวนางเอก ก็เป็นอันว่าละครฉากนี้
อมราสะโตกคำชุดแรกนี้ เศรษฐีศักดิ์ กับเศรษฐีวัลลา คือคู่พระคู่นางที่แท้จริง
แต่คณะละครอมราสะโตกคำ ร่วมชาวศิลปินหรรษา ก็เสียดายสมหมาย ถาวิกุลอย่างสุดซึ้ง ที่เขา
เหลือไว้แต่เสียงบรรยายร่วมเสียงคู่พระคู่นาง สมหมาย ถาวิกุล ก็ได้ตายด้วยโรคร้ายที่ปักษ์ใต้.
ทั่วประเทศมาทัศนศึกษาศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิงจนุมสะหรีลำปางวัดกู่คำ และได้เชิญอาจารย์ศักดิ์ ส
รัตนชัย ร่วมคณะโครงการโบราณคดีสัญจรพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สุโขทัย ลพบุรี รามคำแหง สุพรรณบุรีนครปฐม ราชบุรี และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร สามารถพัฒนาแนวคิดแก่จุมสะหรีรุ่นใหม่
ร่ำเปิงกิจกรรมศิลปะลานวัดของลำปาง ;การสืบสานศิลปวัฒนธรรมศิลปะลานวัด แห่งสำนักข่วงเจิง จุมสะหรีลำปาง
จะเน้นแบบอย่างความดีมีชีวิตแบบป้าระดมของเด็กไว้ในบันทึกของแขกแก้วที่มาเยือนนครลำปางด้วย
โดยมั่งหวังอนาคตของเด็กที่จะเติบโตมีสำนึกหวงแหนรักษาความดีงามที่มีแบบอย่างร่วมมิตรร่วมรุ่น
ร่ำเปิงกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมลานวัด ข่วงเจิงจุมสะหรีลำปางวัดกู่คำแห่งนี้ เป็นแหล่งสาธิตกิจกรรมประจำอย่างต่อเนื่องของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สืบปณิธานของป้าระดมของเด็กๆ
และอาศักดิ์ของเด็กๆรุ่นก่อน พ.ศ.๒๕๐๐ อย่างต่อเนื่องมากว่า ๕๐ ปี ในภาพนี้คือการสาธิต
ขับร้องเพลงธรรมะร่นสมัยป้าระดมแด่นักวิจัย จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กทม.
ขับร้อง ฝึกอารมณ์เพลง ชุดแสดงต่างๆ เด็กทุกคนมีโอกาสขับร้องแพร่เสียงเพลงทางอากาศ
ในการสาธิตขับร้องแด่ รอง ผวจ.ชาย พานิชพรพันธุ์ จากลำปางจะไปรับตำแหน่ง ผวจ.เพชรบุรี
โดยมี อจ.นงนุช ป่าเขียว รองประธานจุมสะหรี เจ้าหน้าที่ระดับสูงแห่งสำนักวัฒนธรรมจังหวัด
ลำปาง(ขวาสุด) ฝันจะได้จัดรายการศิลปวัฒนธรรมสัญจรไปจังหวัดเพชบุรี ได้เห็นทะเลด้วย
ท่าโว้นจากซ้าย สู่โว้นขวาต่อบ้วงอันเป็นท่ารำ ๑๒ ต่าตอนปั่นฝ้าย
ท่าโว้นจากซ้าย สู่โว้นขวาต่อบ้วงอันเป็นท่ารำ ๑๒ ต่าตอนปั่นฝ้าย
ท่าต่อเนื่อง ถัดจากโย้นซ้ายขวาต่อบ้วง ต่อด้วยท่ากวั๋กเหน็บ
แก่คณะนักเรียนข่วงเจิงจุมสะหรีลำปางวัดกู่คำ ขณะมอบแก่น้องปิ่น ศิลปินลานวัดตัวเล็กที่สุดในวันนั้น
จากขวา คุณชาย พานิชพรพันธุ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง ประธานพิธีแจกวุฒิบัตรของจังหวัดลำปาง
และสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเวทีมหกรรมนานาชาติ และเวทีเทศบาลนครลำปาง พ.ศ.2551 อาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย อาจารย์นงนุช ป่าเขียว ณ หอมหากังสดาลอักขร
และสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านเวทีมหกรรมนานาชาติ และเวทีเทศบาลนครลำปาง พ.ศ.2551 อาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย อาจารย์นงนุช ป่าเขียว ณ หอมหากังสดาลอักขร
เฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษก ข่วงเจิงจุมสะหรีลำปาง เป็นผลสืบสานศิลปวัฒนธรรมลานวัดอย่างแท้จริง
เสมาพัฒนา ประจำวันอาทิตย์แรก 16 พ.ย.2551 แทนอาจารย์ศักดิ์ ส ยามป่วย โดยคุณแอ๋ว (ชุติกานจน์)
เหล่าชัย เจ้าหน้าที่สถานีฝ่ายกำกับรายการช่วยให้การแนะนำให้น้องแน๊กเป็นนักจัดรายการที่ดีต่อไป.
---00000---