ราชภัฏลำปางฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
ในวาระโอกาสเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ ๖๐ ปี
และเจริญพระชนม์พรรษา ๘๐ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๐
สำนักศิลปและวัฒนธรรม และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้แต่งตั้งมอบหมายให้อาจารย์ศักดิ์ สักเสริญ รัตนชัย
ในคณะทำงานกองบรรณาธิการ
นิตยสารเครือข่ายหอจดหมายเหตุแห่งชาติราชภัฏลำปางเฉลิมพระเกียรติชื่อว่า
นิตยสารฝาผนังหอจดหมายเหตุแห่งชาติราชภัฏลำปาง
Wall Newpaper byRajabhat Lampang Archive Network of Thailand National Archive
ศักดิ์ ส.รัตนชัย บก.ภาคภาษาไทย เขียนเรื่องประวัติสะพานรัษฎาภิเษก
สุรพงษ์ ภักดี บก.ภาคภาษาอังกฤษ เขียนเรื่องประวัติหนังสือพิมพ์ฝาผนังในประเทศไทย
Suraphong Pukdee English Editor ;
From AMIC 1975 to Lampang Wall Newspaper page 1/2006
I.Wall Newspaper Seminar Project by Asian Mass International Communication(AMIC)
II."NationalArchive Saminar"Recording incidents of Thailand
นิตยสาราฝาผนังหอจดหมายเหตุฯราชภัฏลำปาง ฉบับปฐมฤกษ์ที่ได้ประทัปตราหอจดหมายเหตุ
ประวัติการรถไฟและทางหลวงสายแรกภาคเหนือ
ชินวัตร์ ประกาศยุบสภาผู้แทน เพื่อเลือกตั้งใหม่ 24 ก.พ.2549 ผลพลอยได้การเลือกตั้ง สว.ระหว่างยุบสภา ลำปางได้แก่ *สว.พีระ มานะทัศน์ อดีต ผวจ.ลำปาง และ *สว.ดร.ธารทอง ทองสวัสดิ์ อดีต สส.ลำปาง ;
วันเดียวกันนี้ *พระครูวิฑิตพิพิฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุสุโทนคีรี เด่นชัย จ.แพร่มอบคัมภีร์คชลักษณ์โบราณอายุ 111 ปี ผ่าน ผวจ.ลำปาง ผ่านคณะทำงานหอจดหมายเหตุหน้าสาม *ผศ.เล็ก แสงมีอานุภาพ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สู่การส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ส่ง*ชวนพิศ ทองแคล้ว *ลัดดา ชูชาติ มารับเอกสารโบราณสู่ทะเบียนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ คณะได้ดูกิจกรรมนิตยสารฝาผนัง หน่วย ๑ ราชภัฏ รูปสังคม ณ MJ STEAK ของ *มงคล เจนตะวนิช อดึต นายก KMS 100ปี โดยมีคณะร่วมทีมถ่ายรูปครั้งนี้คือ *อนิรุธ อินทิมา *อ.จำรัส แกวทิพย์ และ *อ.โชติ เชิดชูจึง รูปสังคม
*ดร.อุดมศักดิ์ ศักดิ์มั่นวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ชนะเลือกตั้งประธานสภาวัฒนธรรมโลก CIOFF ร่วมรูปฉาย สมเด็จพระราชาธิบดีสวาธิที่ 3 แห่งสวาซิแลนด์ ก่อนเสด็จมาร่วมพระราชพิธีสิริราชสมบัติ 60 ปั ในประเทศไทย *ดร.นิมิตร จิวะสันติการ นายกเทศมนตรีนครลำปางร่วมลงนามกับ*ขันคำ
จันทสุก เจ้าเมืองหลวงพระบาง ร่วมเจตจำนงสัญญาเมืองมิตรภาพ ลำปาง-หลวงพระบาง *พลเอก
จรักุลนิมิตร ประธานอนุกรรมการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เป็นรุ่นที่ ๕๙ ระหว่าง 15-18 ก.พ.2549 *หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล กล่าว
ถึง "สยาม" คือชื่อลักษณะรวมของชนทุกเผ่าในประเทศไทย *ศักดิ์ ส.รัตนชัย อ้างถึงผลงาน*ผศ.ณรงค์สมิทธิธรรม เสนอโน้ตทำนองสวดเบิกคำเมือง มีศัพท์โน้ตลิ้วกงแช่ ภาษาแต้จิ๋ว หนังลานนาล้านนาเป็นของใคร ขยายผลถึงคำว่าเสียมก๊กในจารึกนครวัติ แปลแต้จิ๋วว่า ประเทศเสียม เสนอให้ฟื้นชื่อ ประเทศสยามสู่ความเป็นเอกภาพ เพราะชาวสยามที่เป็นมอญ เป็นมุสลิม ปฏิเสธว่าตนคือไทย ภาพสังคม อธิการบดีมหา
วิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขต เรียนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แนะนำ* พรสวรรค์ จินดาวงศ์ สาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ระหว่างทำวิทยานิพนธ์ เรื่องเกี่ยวกับบทบาทดนตรีสมัยคุ้มหลวงนครลำปาง
ภาพ หมู่คณะประวัติศาสศึกษาสัญจร (ปศส.)ลำปางไปดูงานที่กองทัพอากาศ พร้อมภาพรายงาน ปศส.บ่อ
ราชเสนา เป็นข้าหลวงจังหวัดลำปาง มีรูปขุนวิจิตรนิติญาน พนักงานอัยการจนังหวัดลำปางอยูในภาพ
ผู้รายงานมีไม้ซุงสักติดสะพานเป็นแพขวางลำปางแม่น้ำ สามหมื่นท่อน
ศักราชยุคสมัย
พลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าบุญวาทย์ วงษ์มานิต (24402465)
พลเอกเจ้าพระยางวงษานุประพัฒน์(ม.ร.ว.สท้าน สนิทวงศ์/2409-2483)
สะพานรัษฎาภิเศกรุ่นปัจจุบันสร้างในสมัย ร.๖ เปิด มีนาคม 2460
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์สำคัญ
ในรายงานราชการครั้งที่ ๗ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ลงไปเฝาฯร.๕ พ.ศ.๒๔๓๘
ได้ขอพระราชทานงบสร้างสะพานข้ามน้ำแม่วังว่าจ้าง มร.สปาร์ สร้างสะพานไม้เสริมเหล็ก
มูลค่า ๑๖๘๓๘ รูเปีย ๖ อัฐ กรมหมื่นนครไชยศรี เสด็จเปิด๒๔๔๗ ด้วยมงคลนาม
ชื่อสะพาน "รัษฎาภิเศก"เฉลิมพระเกียรติพระราชพิธีรัชฎาภิเศก ร.๕เมื่อปี ๒๔๓๗
ครั้สต่อมาสะพานนี้เกิดยุบพังทั้งที่สะพานอยู่ในสภาพแข็งแรง แต่ขาดผู้รับผิดชอบคอสะพาน
โดยรายงานกรมทางของบซ่อมคอสะพาน กระทรวงการคลังขัดข้อง อ้างเขตสุขาภิบาลควรจัดการ
ขณะโต้ตอบ ฐานคอสะพานถูกน้ำเซาะยุบพังปี ๒๔๕๘
สะพานรัษฎาภิเศกรุ่นไม้เสริมเหล็กสมัย ร.๕ ช่วง ๑๒๐ เมตร แบ่งเป็นสองโค้งใหญ่
สะพานรัษฎาภิเศกคอนกรีตสมัย ร.๖ สร้างเป็น ๔ โค้ง
สะพานรัษฎาพิเศกรุ่นปัจจุบันกับเหตุการณ์เกือบถูกระเบิด ๒ ครั้ง
I /พ.ศ.๒๔๖๑ มหาอุทกภัยซุงสักติดสะพานขวางแม่น้ำ กระกสน้ำท่วมถนนมีท่อนซุงทะลายหมู่บ้าน
ขณะที่ราชการฝ่ายไทยได้รับอนุมัตเตรียมระเบิดสะพาน กงสุลอังกฤษอาสาน้ำช้างมาลากซุงให้
II/พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๙ ระหว่างสงครามโลกเข้มข้น มิส ลูซีสตารืลิงค์ แห่ง ร.ร.วิชชานารี ขณะ
เป็นที่ปรึกษาองค์การเอเซียเสรี ฝูงบินระเบิด B24 สัมพันธมิตรหลัง ตั้งเป้าระเบิดสถานรัษฎาภิเศกกับสะพาน
รถไฟ ต.สบตุ๋ย เคยระเบิดสถพานรัษฎาแต่พลาดเป้ามาแล้วครั้งหนึ่ง แหม่มสตาร์ลิงค์ของเว้นสะภานรัษฎา
ภิเศกโดยเหตุผลมิใช่จุดยุทธศาสตร์สำคัญ เพราะเป็นแหล่งชุมชนโรงเรียนและโรงพยายาล
ประวัติศาสตร์ต่อเนื่องทางอนุสรณ์ ร.๕-ร.๖
สะพานรัษฎาภิเศกลำปาง มีเสาประวัติศาสตร์ หัวท้ายสะพานรวม ๔ ต้น มีรูปครุฑหลวงและไก่หลวง
สะท้อนบุราณราชประเพณีให้เกียรติเจ้าประเทศราช ยอดเสามีพวงมาลารำลึกถึง ร ๕
ในปีเฉลิมฉลองกรุงเทพ ๒๐๐ ปี จังหวัดลำปางมีการเริ่มโครงการอนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง
ปฐมราชวงศ์กษัตริย์ท้องถิ่นสมัยประเทศราชแห่งราชตระกูลเจ้าเจ็ดตน และการสร้างโครงการ
อนุสรณ์สถาน หาดลาวาผาลาด และพระบรมรูป ร.๖ บนยอดเสาปูนซิเมนต์ ที่รอดพ้นจาก
การทำลาย ๑ ในสองเสา ณ หาดลาวาผาลาด ต.พระบาท อ.เมืองลำปาง
ประวัติพระจันทร์และพระอาทิตย์ทรงกรดในพระราชพิธีเฉลิมฉลอง
สิริราชสมบัติ ๖๐ ปี และทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อนุสรณ์รำลึกพระมหาบารมีสมัย ร.๕-ร.๘ จากดวงตราไปรษณียกร
การค้นพบตำราคชลักษณะและยารักษาช้างอาชุ ๑๑๑ ปีสมัย ร.๕-ร.๙
ประวัติการรถไฟและทางหลวงสายแรกภาคเหนือ
คู่ตำนานถนนหลวงรถม้า ระหว่าง ตำบลสบตุ๋ย กับในตัวเมือง
ธงชาติต่างๆยุคสมัยประวัติศาสตร์รถไฟหลวง แต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒
เป็นหน้าประวัติศาสตร์ภาพสถานีรถไฟนครลำปาง สมัยแรกสร้าง
เกียรติมุขหริภุญไชย จากเอกสารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย
เมื่อเวียนมาถึงประเทศไทยซึ่ง ดร.โกวิทย์ วรพิพัฒน์ อธิบดีกรมวิชาการ ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นเจ้าภาพ เรื่องตลกเรื่องหนึ่งที่มีการเสนอในที่ประชุม ด้านภาษาและวรรณกรรมภาษาอ่านหนังสือพิมพ์
หมู่บ้าน จากข้อมูลชาวนักหนังสือพิมพ์ชาวไต้หวันกล่าวขวัญถึงประเทศไทย ยังใช้ภาษาราชการด้วยภาษาอินเดียโดยยกตัวอย่างเพลง ผู้ใหญ่ลี ในปี ๒๕๐๔
พ.ศ.สองพันห้าร้อยสี่ ผู้ใหญ่ลีตีกลองประชุม ชาวบ้านเขามาชุมนุม
มาประชุมกับเรื่องผู้ใหญ่ลี ต่อไปนี้ผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าว ถึงเรื่องราวที่ได้ประชุมมา
ทางการเขาสั่งมาว่า ทางการเขาสั่งมาว่า ให้ชาวนาเลี้ยงเป็ดและสุกร
ฝ่ายนาสีหัวคลอนถามว่าสุกรนั้นคืออะไร ?
ผู้ใหญ่ลีลุกขึ้นตอบทันใด "สุกรนั้นไซร์คือหมาน้อยธรรมดา"
ลูกคู่รับ "หมาน้อยหมาน้อยธรรมดา-หมาน้อยหมาน้อยธรรมดา"
ปรากฏว่า เพลงนี้ รัฐบาลได้ประกาศห้ามออกอากาศ ?
ตัวอย่างซึนามิ สู่ผลวิเคราะห์ตำนานเชียงแสนถล่ม มากกว่า ๑ แห่ง
ระหว่างตำนานเวียงปึ๋งแจ้ห่ม กับหนองหล่มเชียงแสน ?
*จากการประชุมเรื่องการบรรทึกจดหมายเหตุในประเทศไทย วันอังคารที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ณ ห้องแสนตอง โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ นางสมศรี เอี่ยมธรรม รองอธิบดีกรมทำหน้าที่แทนอธิบดีกรมศิลปากร เป็นประธานพิธีเปิดและบรรยายเรื่อง"บทบาทกรมศิลปากรกับงานจดหมายเหตุท้องถิ่น"พร้อม
ภาพนางสุรีรัตน์ วงศ์เสงี่ยม ผอ.สำนักหอจดหมายเหตแห่งชาติ นายศักดิ์ ส.รัตนชัย และนางสมศรี
เอี่ยมสุวรรณ รองอธิบดีกรมศิลปากร ณ ห้องประชุมดังกล่าว
*ชั่วโมงสำคัญแห่งการขยายเจตนรมย์หอจดหมายเหตุแห่งชาติ สู่ข่ายบันทึกเรื่องราวมนษยชาติ อาทิ
เหตุการณ์ทางธรณีภัยพิบัจากซึกนามิ ๒๖ ก.ค.๒๕๔๘ ก็เกี่ยวข้องตัวอย่างมุมวิจัยปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ในประวัติศาสตร์โยนกเชียงแสนน่านเจ้าในมิติคิดใหม่ (ศักดิ์ ส.รัตนชัย)
*เรื่องที่ผู้เขียนได้ฝากแนวคิดนำเสนอดังกล่าว โดยที่ชาวพิพิธภัณ(ฑสถานแห่งชาติหริภุญไชยและนักวิชาการจากจังหวัดลำปาง ถึงเหตุการณ์ซึนามิ ที่มีการยกมากล่าวถึงในการสัมมนาวิชาการเรื่องสายสัมพันธ์
หริภุญไชย-เวียงบริวาร เปิดประตูสู่เวียงเขลางค์ เวียงมโน เวียงกุมกาม เวียงท่ากาน เวียงเถาะ มรดกสัมพันธ์
ระหว่างแว่นแคว้นต่างๆช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๒๑ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย เมื่อวันที่ ๒๑
กันยายน ๒๕๔๘ คณะวิทยากรคือ ศาสตราจารย์ สุรพล ดำริห์กุล อ.ศักดิ์ ส.รัตนชัย อ.พงศ์เกษม สนธิไชย
อ.ไกรสินธิ์ อุ่นใจอินทร์ โดยมี ดร.เพ็ญสุภา สุคตะ ใจอินทร์ ผอ.พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
วิบัติภัยคลื่นสึนามิ 26 ธ.ค.2547 จากศูนย์สุมาตราคลุมมหาทวีป
ส่งความเชื่อใหม่ รอยเลื่อนเชียงแสนคลุมแอ่งนิทานแจ้ห่ม-เชียงแสน
จากข่าวธรณีพิบัติจากคลื่นสึนามิ รวมสุมาตรา อินโดนิเซีย ตาย 226,566 คน ก็ขยายความเชื่อใหม่
โดยสมุมติฐานใหม่ของนักจดหมายเหตุรุ่นนี้ ถึงรอยเลื่อนหริภุญไชย-วิเชตนครแจ้ห่ม -โยนกเชียงแสน
แอ่งนิทานตำนาน แม่ม่ายดอยหล่มอาง และเวียงปึ๋ง อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง กับเวียงหนองหล่ม อ.เชียงแสน
จ.เชียงราย เหตุการณ์เวียงถ่มเชียงแสน คงมิใช่เพียงแห่งเดียว กับร่อยรอยสถานปัตยกรรมเกียรติมุข
หริภุญไชย เชียงแสน มีอิทธิพลต่อเกีรติมุข อ.เชียงแสน เป็นไปได้ไหมว่า ยุคกษัตริย์ที่ ๒๑ หริภุญไชย
กมะระราช ของ(ละโว้)มาชนะหริภุญไชย ครองอยู่ ๒๐ ปีกับ ๗ เดือน ชนะถึงนาคะปุระ เชียงแสน ยุคนี้อยู่ใน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ก่อนยุคเหตุการณ์แผ่นดินถล่ม เป็นยุคที่แจ้ห่ม กับเชียงแสน อยู่ในแผ่นดิน
อันหนึ่งอันเดียวกับยุคหริภุญไชยถึงนาคปุระ เกียรติมุขหริภุญไชยกับเกียรติมุขป่าสักเชียงแสนคงได้รับ
อิทธิพลเลียนแบบศิลปะก่อนรอยเลื่อนเชียงแสน ?
เกียรติมุขหริภุญไชย จากเอกสารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย
fjjfjflkjljf;jl;fj;f
----00000----
เสนอความสำคัญของนิทรรศการฉบับปฐมฤกษ์ในงานมหกรรมพระราชพิธีถวายพระเกียรติฯ
ร่วมพิธีศักดิ์สิทธิของ ๔ สถาบันศาสนา ครั้งแรกของจังหวัดลำปาง
งานสัมมนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติกับเงื่อนประวัติศาสตร์ซึนามิ ๔ ก.ค.๒๕๔๘
ณ ห้องแสนตอง โรงแรมโลตัสเชียงใหม่ กับสัมมนาเรื่องสายสัมพันธ์เมืองบริวารหริภุญไชย ณ
พิพิธภัณสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ๒๑ ก.ย. ๒๕๔๘ เปิดประตูเวียงเขลางค์ ร่วมมรดกเวียง
บริวาร เวียงมโน เวียงกุมกาม เวียงท่ากาน และเวียงเถาะ ช่วงรอยร้าวเชียงแสน ระหว่างพุทธศตวรรษ
ที่ ๑๔-๒๑ เหตุการณ์ซึนามิ ให้ข้อมูลรัศมีวงกว้างสมุมาตราแผ่คลุมหลายไหล่ทวีป กับสมมุติฐานใหม่
รอยร้าวเชียงแสน แผ่นดินถล่มหลายจุด หล่มแจ้ห่ม หล่มเชียงแสน ต่อการเปิดปูมิใหม่ประวัติศาสตร์
ภาคขยายความทั้งภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษจากติตยสารฝาผนัง สู่หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น
(กลางซ้าย)รับใบลานภาษาขอมจากภาคอีสานโดยศรัทธาผู้บริจาคผ่านโครงการหอจดหมายเหตุ ฯ
เครือข่ายราชภัฏลำปาง โดยมีอาจารย์สุรพงษ์ ภักดี คณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคม อาจารย์
ศักดิ์ ส. รัตนชัย ผอ.โคงการหอจดหมายเหตุฯมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เป็นฝ่ายมอบ
ณ ตึกคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เมื่อวันท่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑.
(จากขวา) อาจารย์สุรพงษ์ ภักดี คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พร้อมเจ้าหน้าที่จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรสองท่าน นิมนต์ภิกษุณีพุทธศาสตร์มหาบันฑิตจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่มาศึกษาภาษาอังกฤษ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เพื่อศึกษาปริญญาเอกพุทธศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต ณ มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย อาจารย์ศักดิ์ ส รัตนชัย อาจารย์สุวรัฐ และสันกลาง ได้ศึกษาดูงานนิตยสารฝาผนังมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ เอ็มเจ.สเต๊กเฮ้าส์ ๓ แยกหน้าวัดท่าคราวน้อย.
นำภิกษุณีVem Mup Rujing พรรษา ๑๐ อาจารย์จากคณะพุทธศาสตร์มหาบัณฑิตแห่งวิทยาลัย Minnam
สาธารณรัฐประชาชนจีน(ลำดับที่ ๔ กลาง )นางชวนพิศ เต็งอำนวย หัวหน้ากลุ่มเอกสารสำคัญหอจดหมาย
เหตุแห่งชาติ(ลำดับที่ ๓) นางสาวศุภราพร ฤกษ์ดิกุล นักจดหมายเหตุ กรมศิลปากร (ลำดับที่ ๒)อาจารย์
สุวรัฐ แลสันกลาง รองคณะบดีคณมนุษยศาสตร์ (ซ้ายสุด) และ อาจารย์ศักดิ์ ส รัตนชัย ผู้อำนวยนวยการ
โครงการหอจดหมายเหตุแห่งชาติเครือข่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (ขวาสุด) ร่วมนมัสการพระครู
ศิริกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำเภอเมืองลำปาง และเจ้าอาวาสวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม ๔ เมย.๒๕๕๑.
----00000----