14 พฤศจิกายน 2551

7 ร่ำเปิงสาระนิตยสารฝาผนังประวัติศาสตร์ท่องเที่ยว A



นิตยสารฝาผนังเครือข่ายหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

ราชภัฏลำปางฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙

ในวาระโอกาสเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวครองสิริราชสมบัติ ๖๐ ปี

และเจริญพระชนม์พรรษา ๘๐ ปี ระหว่าง พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๐

สำนักศิลปและวัฒนธรรม และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางได้แต่งตั้งมอบหมายให้อาจารย์ศักดิ์ สักเสริญ รัตนชัย

ในคณะทำงานกองบรรณาธิการ

นิตยสารเครือข่ายหอจดหมายเหตุแห่งชาติราชภัฏลำปางเฉลิมพระเกียรติชื่อว่า

นิตยสารฝาผนังหอจดหมายเหตุแห่งชาติราชภัฏลำปาง

Wall Newpaper byRajabhat Lampang Archive Network of Thailand National Archive

ศักดิ์ ส.รัตนชัย บก.ภาคภาษาไทย เขียนเรื่องประวัติสะพานรัษฎาภิเษก


สุรพงษ์ ภักดี บก.ภาคภาษาอังกฤษ เขียนเรื่องประวัติหนังสือพิมพ์ฝาผนังในประเทศไทย

Suraphong Pukdee English Editor ;


From AMIC 1975 to Lampang Wall Newspaper page 1/2006


I.Wall Newspaper Seminar Project by Asian Mass International Communication(AMIC)


II."NationalArchive Saminar"Recording incidents of Thailand



นิตยสาราฝาผนังหอจดหมายเหตุฯราชภัฏลำปาง ฉบับปฐมฤกษ์ที่ได้ประทัปตราหอจดหมายเหตุ




คอลัมน์บันทึกหอจดหมายเหตุหน้าสาม นามสังคมหน้าสาม มี* ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ
ชินวัตร์ ประกาศยุบสภาผู้แทน เพื่อเลือกตั้งใหม่ 24 ก.พ.2549 ผลพลอยได้การเลือกตั้ง สว.ระหว่างยุบสภา ลำปางได้แก่ *สว.พีระ มานะทัศน์ อดีต ผวจ.ลำปาง และ *สว.ดร.ธารทอง ทองสวัสดิ์ อดีต สส.ลำปาง ;
วันเดียวกันนี้ *พระครูวิฑิตพิพิฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุสุโทนคีรี เด่นชัย จ.แพร่มอบคัมภีร์คชลักษณ์โบราณอายุ 111 ปี ผ่าน ผวจ.ลำปาง ผ่านคณะทำงานหอจดหมายเหตุหน้าสาม *ผศ.เล็ก แสงมีอานุภาพ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สู่การส่งมอบหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ส่ง*ชวนพิศ ทองแคล้ว *ลัดดา ชูชาติ มารับเอกสารโบราณสู่ทะเบียนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ คณะได้ดูกิจกรรมนิตยสารฝาผนัง หน่วย ๑ ราชภัฏ รูปสังคม ณ MJ STEAK ของ *มงคล เจนตะวนิช อดึต นายก KMS 100ปี โดยมีคณะร่วมทีมถ่ายรูปครั้งนี้คือ *อนิรุธ อินทิมา *อ.จำรัส แกวทิพย์ และ *อ.โชติ เชิดชูจึง รูปสังคม
*ดร.อุดมศักดิ์ ศักดิ์มั่นวงศ์ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ชนะเลือกตั้งประธานสภาวัฒนธรรมโลก CIOFF ร่วมรูปฉาย สมเด็จพระราชาธิบดีสวาธิที่ 3 แห่งสวาซิแลนด์ ก่อนเสด็จมาร่วมพระราชพิธีสิริราชสมบัติ 60 ปั ในประเทศไทย *ดร.นิมิตร จิวะสันติการ นายกเทศมนตรีนครลำปางร่วมลงนามกับ*ขันคำ
จันทสุก เจ้าเมืองหลวงพระบาง ร่วมเจตจำนงสัญญาเมืองมิตรภาพ ลำปาง-หลวงพระบาง *พลเอก

จรักุลนิมิตร ประธานอนุกรรมการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ณ

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เป็นรุ่นที่ ๕๙ ระหว่าง 15-18 ก.พ.2549 *หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล กล่าว
ถึง "สยาม" คือชื่อลักษณะรวมของชนทุกเผ่าในประเทศไทย *ศักดิ์ ส.รัตนชัย อ้างถึงผลงาน*ผศ.ณรงค์สมิทธิธรรม เสนอโน้ตทำนองสวดเบิกคำเมือง มีศัพท์โน้ตลิ้วกงแช่ ภาษาแต้จิ๋ว หนังลานนาล้านนาเป็นของใคร ขยายผลถึงคำว่าเสียมก๊กในจารึกนครวัติ แปลแต้จิ๋วว่า ประเทศเสียม เสนอให้ฟื้นชื่อ ประเทศสยามสู่ความเป็นเอกภาพ เพราะชาวสยามที่เป็นมอญ เป็นมุสลิม ปฏิเสธว่าตนคือไทย ภาพสังคม อธิการบดีมหา

วิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขต เรียนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง แนะนำ* พรสวรรค์ จินดาวงศ์ สาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ระหว่างทำวิทยานิพนธ์ เรื่องเกี่ยวกับบทบาทดนตรีสมัยคุ้มหลวงนครลำปาง

ภาพ หมู่คณะประวัติศาสศึกษาสัญจร (ปศส.)ลำปางไปดูงานที่กองทัพอากาศ พร้อมภาพรายงาน ปศส.บ่อ



หน้าประวัติสะพานรัษฎาภิเศก ศักดิ์ ส.รัตนชัย

เริ่มแต่ภาพประวัติศาสตร์ สะพานข้ามน้ำแม่วังรัษฎาภิเศก กับมหาอุทกภัย 26 ส.ค.2461 สมัยพระยาสุเรนทร์

ราชเสนา เป็นข้าหลวงจังหวัดลำปาง มีรูปขุนวิจิตรนิติญาน พนักงานอัยการจนังหวัดลำปางอยูในภาพ

ผู้รายงานมีไม้ซุงสักติดสะพานเป็นแพขวางลำปางแม่น้ำ สามหมื่นท่อน

ศักราชยุคสมัย

พลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าบุญวาทย์ วงษ์มานิต (24402465)

พลเอกเจ้าพระยางวงษานุประพัฒน์(ม.ร.ว.สท้าน สนิทวงศ์/2409-2483)

สะพานรัษฎาภิเศกรุ่นปัจจุบันสร้างในสมัย ร.๖ เปิด มีนาคม 2460

เหตุการณ์ประวัติศาสตร์สำคัญ

ในรายงานราชการครั้งที่ ๗ เจ้าผู้ครองนครลำปาง ลงไปเฝาฯร.๕ พ.ศ.๒๔๓๘

ได้ขอพระราชทานงบสร้างสะพานข้ามน้ำแม่วังว่าจ้าง มร.สปาร์ สร้างสะพานไม้เสริมเหล็ก

มูลค่า ๑๖๘๓๘ รูเปีย ๖ อัฐ กรมหมื่นนครไชยศรี เสด็จเปิด๒๔๔๗ ด้วยมงคลนาม

ชื่อสะพาน "รัษฎาภิเศก"เฉลิมพระเกียรติพระราชพิธีรัชฎาภิเศก ร.๕เมื่อปี ๒๔๓๗

ครั้สต่อมาสะพานนี้เกิดยุบพังทั้งที่สะพานอยู่ในสภาพแข็งแรง แต่ขาดผู้รับผิดชอบคอสะพาน

โดยรายงานกรมทางของบซ่อมคอสะพาน กระทรวงการคลังขัดข้อง อ้างเขตสุขาภิบาลควรจัดการ

ขณะโต้ตอบ ฐานคอสะพานถูกน้ำเซาะยุบพังปี ๒๔๕๘

สะพานรัษฎาภิเศกรุ่นไม้เสริมเหล็กสมัย ร.๕ ช่วง ๑๒๐ เมตร แบ่งเป็นสองโค้งใหญ่

สะพานรัษฎาภิเศกคอนกรีตสมัย ร.๖ สร้างเป็น ๔ โค้ง

สะพานรัษฎาพิเศกรุ่นปัจจุบันกับเหตุการณ์เกือบถูกระเบิด ๒ ครั้ง

I /พ.ศ.๒๔๖๑ มหาอุทกภัยซุงสักติดสะพานขวางแม่น้ำ กระกสน้ำท่วมถนนมีท่อนซุงทะลายหมู่บ้าน

ขณะที่ราชการฝ่ายไทยได้รับอนุมัตเตรียมระเบิดสะพาน กงสุลอังกฤษอาสาน้ำช้างมาลากซุงให้

II/พ.ศ.๒๔๘๔-๒๔๘๙ ระหว่างสงครามโลกเข้มข้น มิส ลูซีสตารืลิงค์ แห่ง ร.ร.วิชชานารี ขณะ

เป็นที่ปรึกษาองค์การเอเซียเสรี ฝูงบินระเบิด B24 สัมพันธมิตรหลัง ตั้งเป้าระเบิดสถานรัษฎาภิเศกกับสะพาน

รถไฟ ต.สบตุ๋ย เคยระเบิดสถพานรัษฎาแต่พลาดเป้ามาแล้วครั้งหนึ่ง แหม่มสตาร์ลิงค์ของเว้นสะภานรัษฎา

ภิเศกโดยเหตุผลมิใช่จุดยุทธศาสตร์สำคัญ เพราะเป็นแหล่งชุมชนโรงเรียนและโรงพยายาล

ประวัติศาสตร์ต่อเนื่องทางอนุสรณ์ ร.๕-ร.๖

สะพานรัษฎาภิเศกลำปาง มีเสาประวัติศาสตร์ หัวท้ายสะพานรวม ๔ ต้น มีรูปครุฑหลวงและไก่หลวง

สะท้อนบุราณราชประเพณีให้เกียรติเจ้าประเทศราช ยอดเสามีพวงมาลารำลึกถึง ร ๕

ในปีเฉลิมฉลองกรุงเทพ ๒๐๐ ปี จังหวัดลำปางมีการเริ่มโครงการอนุสาวรีย์พ่อเจ้าทิพย์ช้าง

ปฐมราชวงศ์กษัตริย์ท้องถิ่นสมัยประเทศราชแห่งราชตระกูลเจ้าเจ็ดตน และการสร้างโครงการ

อนุสรณ์สถาน หาดลาวาผาลาด และพระบรมรูป ร.๖ บนยอดเสาปูนซิเมนต์ ที่รอดพ้นจาก
การทำลาย ๑ ในสองเสา ณ หาดลาวาผาลาด ต.พระบาท อ.เมืองลำปาง





ประวัติพระจันทร์และพระอาทิตย์ทรงกรดในพระราชพิธีเฉลิมฉลอง

สิริราชสมบัติ ๖๐ ปี และทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

อนุสรณ์รำลึกพระมหาบารมีสมัย ร.๕-ร.๘ จากดวงตราไปรษณียกร

การค้นพบตำราคชลักษณะและยารักษาช้างอาชุ ๑๑๑ ปีสมัย ร.๕-ร.๙

ประวัติการรถไฟและทางหลวงสายแรกภาคเหนือ


หน้าประวัติการรถไฟหลวงและทางหลวงแรกสายเหนือ เชื่อมณฑลเริ่มนถนนรถม้านครลำปาง



คู่ตำนานถนนหลวงรถม้า ระหว่าง ตำบลสบตุ๋ย กับในตัวเมือง



ธงชาติต่างๆยุคสมัยประวัติศาสตร์รถไฟหลวง แต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒





เป็นหน้าประวัติศาสตร์ภาพสถานีรถไฟนครลำปาง สมัยแรกสร้าง









การประชุมหนังสือเรื่องหนังสือพิมพ์ฝาผนัง ในภาคพื้นเอเซียขององค์การ AMIC ประชุมในประเทศต่างๆ
เมื่อเวียนมาถึงประเทศไทยซึ่ง ดร.โกวิทย์ วรพิพัฒน์ อธิบดีกรมวิชาการ ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เป็นเจ้าภาพ เรื่องตลกเรื่องหนึ่งที่มีการเสนอในที่ประชุม ด้านภาษาและวรรณกรรมภาษาอ่านหนังสือพิมพ์
หมู่บ้าน จากข้อมูลชาวนักหนังสือพิมพ์ชาวไต้หวันกล่าวขวัญถึงประเทศไทย ยังใช้ภาษาราชการด้วยภาษาอินเดียโดยยกตัวอย่างเพลง ผู้ใหญ่ลี ในปี ๒๕๐๔
พ.ศ.สองพันห้าร้อยสี่ ผู้ใหญ่ลีตีกลองประชุม ชาวบ้านเขามาชุมนุม
มาประชุมกับเรื่องผู้ใหญ่ลี ต่อไปนี้ผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าว ถึงเรื่องราวที่ได้ประชุมมา
ทางการเขาสั่งมาว่า ทางการเขาสั่งมาว่า ให้ชาวนาเลี้ยงเป็ดและสุกร
ฝ่ายนาสีหัวคลอนถามว่าสุกรนั้นคืออะไร ?
ผู้ใหญ่ลีลุกขึ้นตอบทันใด "สุกรนั้นไซร์คือหมาน้อยธรรมดา"
ลูกคู่รับ "หมาน้อยหมาน้อยธรรมดา-หมาน้อยหมาน้อยธรรมดา"
ปรากฏว่า เพลงนี้ รัฐบาลได้ประกาศห้ามออกอากาศ ?



ตัวอย่างซึนามิ สู่ผลวิเคราะห์ตำนานเชียงแสนถล่ม มากกว่า ๑ แห่ง
ระหว่างตำนานเวียงปึ๋งแจ้ห่ม กับหนองหล่มเชียงแสน ?
*จากการประชุมเรื่องการบรรทึกจดหมายเหตุในประเทศไทย วันอังคารที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ณ ห้องแสนตอง โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ นางสมศรี เอี่ยมธรรม รองอธิบดีกรมทำหน้าที่แทนอธิบดีกรมศิลปากร เป็นประธานพิธีเปิดและบรรยายเรื่อง"บทบาทกรมศิลปากรกับงานจดหมายเหตุท้องถิ่น"พร้อม
ภาพนางสุรีรัตน์ วงศ์เสงี่ยม ผอ.สำนักหอจดหมายเหตแห่งชาติ นายศักดิ์ ส.รัตนชัย และนางสมศรี
เอี่ยมสุวรรณ รองอธิบดีกรมศิลปากร ณ ห้องประชุมดังกล่าว
*ชั่วโมงสำคัญแห่งการขยายเจตนรมย์หอจดหมายเหตุแห่งชาติ สู่ข่ายบันทึกเรื่องราวมนษยชาติ อาทิ
เหตุการณ์ทางธรณีภัยพิบัจากซึกนามิ ๒๖ ก.ค.๒๕๔๘ ก็เกี่ยวข้องตัวอย่างมุมวิจัยปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ในประวัติศาสตร์โยนกเชียงแสนน่านเจ้าในมิติคิดใหม่ (ศักดิ์ ส.รัตนชัย)
*เรื่องที่ผู้เขียนได้ฝากแนวคิดนำเสนอดังกล่าว โดยที่ชาวพิพิธภัณ(ฑสถานแห่งชาติหริภุญไชยและนักวิชาการจากจังหวัดลำปาง ถึงเหตุการณ์ซึนามิ ที่มีการยกมากล่าวถึงในการสัมมนาวิชาการเรื่องสายสัมพันธ์
หริภุญไชย-เวียงบริวาร เปิดประตูสู่เวียงเขลางค์ เวียงมโน เวียงกุมกาม เวียงท่ากาน เวียงเถาะ มรดกสัมพันธ์
ระหว่างแว่นแคว้นต่างๆช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๒๑ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย เมื่อวันที่ ๒๑
กันยายน ๒๕๔๘ คณะวิทยากรคือ ศาสตราจารย์ สุรพล ดำริห์กุล อ.ศักดิ์ ส.รัตนชัย อ.พงศ์เกษม สนธิไชย
อ.ไกรสินธิ์ อุ่นใจอินทร์ โดยมี ดร.เพ็ญสุภา สุคตะ ใจอินทร์ ผอ.พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ


วิบัติภัยคลื่นสึนามิ 26 ธ.ค.2547 จากศูนย์สุมาตราคลุมมหาทวีป
ส่งความเชื่อใหม่ รอยเลื่อนเชียงแสนคลุมแอ่งนิทานแจ้ห่ม-เชียงแสน
จากข่าวธรณีพิบัติจากคลื่นสึนามิ รวมสุมาตรา อินโดนิเซีย ตาย 226,566 คน ก็ขยายความเชื่อใหม่
โดยสมุมติฐานใหม่ของนักจดหมายเหตุรุ่นนี้ ถึงรอยเลื่อนหริภุญไชย-วิเชตนครแจ้ห่ม -โยนกเชียงแสน
แอ่งนิทานตำนาน แม่ม่ายดอยหล่มอาง และเวียงปึ๋ง อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง กับเวียงหนองหล่ม อ.เชียงแสน
จ.เชียงราย เหตุการณ์เวียงถ่มเชียงแสน คงมิใช่เพียงแห่งเดียว กับร่อยรอยสถานปัตยกรรมเกียรติมุข
หริภุญไชย เชียงแสน มีอิทธิพลต่อเกีรติมุข อ.เชียงแสน เป็นไปได้ไหมว่า ยุคกษัตริย์ที่ ๒๑ หริภุญไชย
กมะระราช ของ(ละโว้)มาชนะหริภุญไชย ครองอยู่ ๒๐ ปีกับ ๗ เดือน ชนะถึงนาคะปุระ เชียงแสน ยุคนี้อยู่ใน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๔ ก่อนยุคเหตุการณ์แผ่นดินถล่ม เป็นยุคที่แจ้ห่ม กับเชียงแสน อยู่ในแผ่นดิน
อันหนึ่งอันเดียวกับยุคหริภุญไชยถึงนาคปุระ เกียรติมุขหริภุญไชยกับเกียรติมุขป่าสักเชียงแสนคงได้รับ
อิทธิพลเลียนแบบศิลปะก่อนรอยเลื่อนเชียงแสน ?





เกียรติมุขหริภุญไชย จากเอกสารพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย


fjjfjflkjljf;jl;fj;f

หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น สู่การขยายผลข่าวสารนิตยสารผาผนังเครือข่ายหอจดหมายเหตุแห่งชาติฯ

เสนอความสำคัญของนิทรรศการฉบับปฐมฤกษ์ในงานมหกรรมพระราชพิธีถวายพระเกียรติฯ

ร่วมพิธีศักดิ์สิทธิของ ๔ สถาบันศาสนา ครั้งแรกของจังหวัดลำปาง

งานสัมมนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติกับเงื่อนประวัติศาสตร์ซึนามิ ๔ ก.ค.๒๕๔๘

ณ ห้องแสนตอง โรงแรมโลตัสเชียงใหม่ กับสัมมนาเรื่องสายสัมพันธ์เมืองบริวารหริภุญไชย ณ

พิพิธภัณสถานแห่งชาติ หริภุญไชย ๒๑ ก.ย. ๒๕๔๘ เปิดประตูเวียงเขลางค์ ร่วมมรดกเวียง

บริวาร เวียงมโน เวียงกุมกาม เวียงท่ากาน และเวียงเถาะ ช่วงรอยร้าวเชียงแสน ระหว่างพุทธศตวรรษ

ที่ ๑๔-๒๑ เหตุการณ์ซึนามิ ให้ข้อมูลรัศมีวงกว้างสมุมาตราแผ่คลุมหลายไหล่ทวีป กับสมมุติฐานใหม่

รอยร้าวเชียงแสน แผ่นดินถล่มหลายจุด หล่มแจ้ห่ม หล่มเชียงแสน ต่อการเปิดปูมิใหม่ประวัติศาสตร์

ภาคขยายความทั้งภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษจากติตยสารฝาผนัง สู่หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น


คณะหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร โดยมีนางชวนพิศ เต็งอำนวย หัวหน้าหน่วยเอกสารสำคัญ

(กลางซ้าย)รับใบลานภาษาขอมจากภาคอีสานโดยศรัทธาผู้บริจาคผ่านโครงการหอจดหมายเหตุ ฯ

เครือข่ายราชภัฏลำปาง โดยมีอาจารย์สุรพงษ์ ภักดี คณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคม อาจารย์

ศักดิ์ ส. รัตนชัย ผอ.โคงการหอจดหมายเหตุฯมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เป็นฝ่ายมอบ

ณ ตึกคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เมื่อวันท่ ๓ เมษายน ๒๕๕๑.


(จากขวา) อาจารย์สุรพงษ์ ภักดี คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พร้อมเจ้าหน้าที่จากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากรสองท่าน นิมนต์ภิกษุณีพุทธศาสตร์มหาบันฑิตจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่มาศึกษาภาษาอังกฤษ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เพื่อศึกษาปริญญาเอกพุทธศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต ณ มหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย อาจารย์ศักดิ์ ส รัตนชัย อาจารย์สุวรัฐ และสันกลาง ได้ศึกษาดูงานนิตยสารฝาผนังมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ เอ็มเจ.สเต๊กเฮ้าส์ ๓ แยกหน้าวัดท่าคราวน้อย.


อาจารย์สุรพงษ์ ภักดี คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง(ลำดับที่๕)

นำภิกษุณีVem Mup Rujing พรรษา ๑๐ อาจารย์จากคณะพุทธศาสตร์มหาบัณฑิตแห่งวิทยาลัย Minnam

สาธารณรัฐประชาชนจีน(ลำดับที่ ๔ กลาง )นางชวนพิศ เต็งอำนวย หัวหน้ากลุ่มเอกสารสำคัญหอจดหมาย

เหตุแห่งชาติ(ลำดับที่ ๓) นางสาวศุภราพร ฤกษ์ดิกุล นักจดหมายเหตุ กรมศิลปากร (ลำดับที่ ๒)อาจารย์

สุวรัฐ แลสันกลาง รองคณะบดีคณมนุษยศาสตร์ (ซ้ายสุด) และ อาจารย์ศักดิ์ ส รัตนชัย ผู้อำนวยนวยการ

โครงการหอจดหมายเหตุแห่งชาติเครือข่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (ขวาสุด) ร่วมนมัสการพระครู

ศิริกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำเภอเมืองลำปาง และเจ้าอาวาสวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม ๔ เมย.๒๕๕๑.

----00000----




































































2 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ19 พฤศจิกายน, 2551 21:04

    เป็นเรื่องเรื่องที่กระผมไม่เคลยทราบมาก่อนเลย


    เด็ก บุญวาทย์เด้อ....

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ19 พฤศจิกายน, 2551 21:08

    มีเนื้อหาที่น่าสนใจอยู่มากและมีประวัติที่ดีม้ากมากเลยครับ



    เด็ก เหนือ

    ตอบลบ