29 สิงหาคม 2552

-ลาสเวกัส ONLINE






SAKYONOK ลำปาง-ลาสเวกัส ONLINE



ภาคเหนือนิวส์ เสียงโยนก กำเนิดแต่ฉบับ 12 สิงหาคม ปี 2516 ภายใต้คำขวัญ สจฺจํเว อมตาวาจา สมัยหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นภาคเหนือบางฉบับถูกคำสั่งปิดยุครัฐบาลถูกปฏิวัติยึดอำนาจ โดยยืมหัวหนังสือพิมพ์แดนไทย ของ บก.ประวิตย์ ลีลาไว นายกสมาคม นสพ.ส่วนภูมิภาค (สภท.) ให้อุปนายกภาคเหนือ ศักดิ์(ส)รัตนชัย ใช้หัวแดนไทย ฉบับภาคเหนือนิวส์ -เสียงโยนก ออกเป็นปฐมฤกษ์ ระยะหนึ่งโดยการสนับสนุนของดตีตปรมาจารย์หนังสือภาคเหนือ สงัด บรรจงศิลป์


บก.ก่อตั้งพิมพ์ไทย และ คนเมือง เป็นประธานที่ปรึกษา ระบบเผยแพร่บนแผงหนังสือ ภาคเหนือ ลำปาง-หัวลำโพง และแผงหนังสือแดนไทย นครสวรรค์



ครั้นเมือภาคเหนือนิวส์-เสียงโยนก ก็ได้รับอนุญาตหัวหนังสือพิมพ์อย่างเป็นทางการ ในจังหวัดลำปาง ได้พัฒนาระบบเผยแพร่ ร่วมโครงการ อค์การหนังสือพิมพ์AMICแห่งเอเซีย สนับสนุนโดยคณะสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่โครงการในความเป็นไปได้ร่วมระบบเครือข่ายุคสังคมชนบทอ่านไม่ออก ร่วม ดร.โกวิทย์ วรพิพัฒน์ อธิบดีกรมวิชาการ โครงการจัดตั้งศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือที่จังหวัดลำปาง เสียงโยนก คือฉบับบุคเบิกหนังสือพิมพ์ระบบที่อ่านหนังสือพิมพ์หมู่บ้านเพื่อคนรุ่นอ่านไม่ออกไจด้อ่านออกกัน แต่ปี 2516 จึงเป็นที่มาของบแนวคิดสืบศาสตร์สู่ศิลป์จากประสบการณ์หนังสือพิมพ์หมู่บ้านฯ


ใน พ.ศ.2546 ภาคเหนือนิงวส์ เสียงโยนก Classic ISBN 974-91591-3-6 ปีที่ 31 ได้รวมจุลสารรายเดือนฉบับซัปพรีเมนท์ไทยนิวส์


แผงหนังสือ ลำปาง -จำหน่ายพิเศษ ภาคเหนือ-กรุงเทพฯ สู่ระบบเผยแพร่ Online โดยรหัสเวปไซต์ SAKYONOK ผ่านข่าย google หรือจะ


ใช้ชื่อภาษาไทย ว่า ศักดิ์ ส.รัตนชัย ผ่าน goole ก็มีมีโปรดเกี่ยวกับศักดิ์ ส ศักดิ์ หรือศักดิ์เสริญ ในงานเขียนมาหลายยุคหลายสมัย



กองพบรรณาธิการ เสียงโยนก Classic ลำปาง-ลาส เวกัส


บรรณาธิการในประเทศ ศักดิ์ ส.รัตนชัย บรรณาธิการต่างประเทศ อนุวัฒน์ ชัยเมือง ทืมข่าวภาพและการ์ตูนลาสเวกัส


บรรณาธิการเข่าวครือข่ายท่องเที่ยว ภาษาต่างประเทศ ดร.สุรพงษ์ ภักดี


กองบรรณาธิการประจำคอ ลัมน์ ประพัฒน์ศร รุ่งเรือง ศชากานต์ แก้วแพร่ อภิรัตน์ รัตนชัย


ทีมข่าว นพดล รุ่งเรือง ข่าวแวดวงวิชาการท้องถิ่น ปวีณา ชุ่มเบี้ย

มาดข่าวใครเป็นใคร



มาดเป้ ศชากานต์ แก้วแพร่ ในโอกาสได้เป็นหุ่นให้จิตรกร วาดริมทางในวัดพระสิงหืที่เชียงใหม่ วาดรูปอย่างที่เห็นๆนี้































ศักดิ์ ส.กับไวโอลินนำหมู่คณะคาวบอยไนท์ แสดงงานมหกรรมปี๋ใหม่เมือง ที่นครลำปางปี 2525


ภาพพ่อเจ้าทิพย์ช้าง จากฝีมือ อนุวัฒน์ ไชยเมือง จิตกรเอกประจำศก 2000 แห่งลาสเวกัสวาด
ไว้ที่อเมริกา ส่งข่าวมาให้ทราบวันนี้ พ่อเจ้าทิพย์ช้าง คือปฐมวีรบุรุษกู้แผ่นดินนครลำปางจวบในฐานะสามัญชน จวบกระทัง่ได้รับการสถาปนาเป็นพญาสุลวะฤาไชย แต่ปี พ.ศ.2275 ได้สืบตระกูลนักรบ
แต่ชั้นลูกและหลาน คือรางวงศ์เจ้าเจ็ดตนฝ่ายเหนือ คือเจ้าวงศ์เจ็ดตนถึงปัจจบันนี

อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง กับหมวกคาวบอย ยุค ร.ต.พูลศักดิ์ สัตยานุรักษ์ ผู้เกษียณอายุในตำแหน่ง
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์




ภาพจากวันประกอบพิธีถุวายพระพรวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2552 ณ สวนสาธารณะเขลางค์


ร่ำเปิงเวปไซต์ SAKYONOK สังคมไทย USAหลังเวปไซต์นี้เสนอภาพวันเฉลิมพระชนมพรรษา
---00000---
12 สิงหาคม 2552 ทีมกอง บ.ก.ต่างประเทศที่ลาสเวกัสของเราก็ส่งข่าวคราวคนไทยภาคเหนือ จากคาลิฟอร์เนียว่า มีการจัดงานรื่นเริงสำหรับผู้มาร่วมงานราว 400 คนร่วมงานเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคมในต่างประเทศ หนุวัฒน์ ไชยเมือง รายงานถึงเสียงโยนก Cassic Lampang-Las vegas เก่าๆรวมทั้ง เวปไซต์ SAKYONOK หาผ่าน Google มีสีสรรก็ดูได้สนุกดี ไม่มีอะไรในกอไผ่ที่จะทำ
ให้โลกกลมใบนี้ห่างไกลเกินเอื้อมด้วยเทคโนโลยีสื่อสารจานอวกาศ


อนุวัฒน์ ไชยเมือง ไปเที่ยวเมืองคาวบอยในสหรัฐอเมริกา และพาลูกๆไปเยี่ยมคาวบอยรุ่นแก่ๆ


อา

อาชีพขายสินค้ารำลึกอดีตวิถีชีวิตในสหรัฐ และการละเล่นปืนแบบมาดคาวบอย ยังไม่สิ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์สมัยอินเดียนแดง



สถานที่ส่งเสริมมาดแสดงประวัติคาวบอย เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของสหรัฐวันนี้ ยังมีวงแตรหนังรุ่นเก่า ตั้งแสดงตามร้านขายของที่ระลึก




การ์ตูนส์ ไทยในสหรัฐอเมริกาวันนี้ จากภาพชุดใหม่ๆของ "แก๊ก"การ์ตูน



































ie

11 สิงหาคม 2552

ร่ำเปิงอักขรสูตรธัมม์12 ส.ค.2552

ณ พระราชพิธี มงฺคลอขรคาถา ฑีฆายุกา โหตุ มหาราชินี ทั่วประเทศ 12 สิงหาคม 2552 เวลา 19.30 น. ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ลำปาง ก็นำพศกนิกรชาวเมืองร่วมพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัย.





รัฐบาลได้ประกาศ 12 สิงหาคม ถือเป็นวันแม่แห่งชาติ นับแต่อีพุทธศักาช2519 และในวันมหาฤกษ์อันสำคัญ ที่ตรงกับนแม่แห่งชาติ12 สิงหาคม2549 อาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย หัวหน้าคณะนาฏศิลปเยาวชนแห่งศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิงสำนักวัดกู่คำ ลำปาง ได้มีโอกาสนำคณะไปแสดง ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านเยาวชนนานาชาติครั้งที่ 11 เครือข่าย CIOFF ไต้หวัน เป็นรอบที่สอง ระหว่างวันที่ 1-20 สิงหาคม 2549

การแสดงครั้งนี้ มีชาติต่างๆไปแสดงรวม 28 ประเทศ นับเป็นครั้งแรกของนักแสดงนานาชาติที่ ได้มีโอกาสเห็นเครื่องแบบนักเรียนนักศึกษาไทย ซึ่งแต่ละประเทศนั้น ไม่มีกฏระเบียบให้แต่งเครื่องบบเหมือนของไทย ซึ่งคณะจุมสะหรีลำปางได้มีแผนเตรียมไว้ก่อนเดินทาง ซ้อมคณะแสดงที่ไต้หวันแสดงชุดอัญเชิญพระรูปฉายของสมเด็จพระบรมราชินีนาถ พร้อมอัญเชิญเพลงพระราชนิพลนธ์ Alexandra ประกอบนาฏลีลานักเรียนนักศึกษานำชุดเครื่องแบบอันสง่างามประจำแต่ละสถาบันการศึกษาได้เตรียมติดตัวไปด้วย ภาพประวัติศาสตร์วันแม่แห่งชาติไทยที่ลำงฝากไว้ที่ไต้หวันในนามตัวแทนจากประเทศไทย ปี 2549 นาฏศิลป์จุมสะหรีลำปางได้แต่งชุดประจำสถาบัน คือวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ ซึ่งเป็นคู่ฝาแฝดเกาะคาลำปาง ชุดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ชุดโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลับ ชุดโรงเรียนลำปางกัลยาณี ชุดโรงเรียนเขลางค์นคร ชุดโรงเรียนอรุโณทัย ชุดโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง ชุดโรงเรียนผดุงวิทย์ และชุดโรงเรียนอนุบาลลำปาง







คณะนาฏศิลป์ชื่อภาษาคำเมือง วันแม่แห่งชาติจุมสะหรีวัดกู่คำ รวม 14รายชื่อ พร้อมผู้ใหญ่ 1 ท่าน คืออาจารย์ศักดิ์ เป็นสักเสริญ รัตนชัย ประธานณะทำงานโครงการเประกวดการตั้งชื่อลูกวันแม่แห่งาติเป็นภาษาคำเมือง ตามพระราชเสาวนีย์ขอบใจ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินี ที่ รล 0010.1/5082 ลงวันที่15กรกฎาคม2547 ได้รับราชานุญาตนำกเรียนและบุคลากรเข้าเฝ้าถวายรายงานกับสมเด็จพระเทพ รัตนาสุดาสยามบรมราชกุมารี คราวเสด็จพระราชทานทรงเปิดโครงการฯของวิทยาเขตราชมงคลฯ ณ วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ตามหนังสือของประธานสภาวัฒนธรรมจังหวยัดลำปาง ที่สวธ.125/2547 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2547รวม 14 รายชื่อคือ (1) นางสาวบัวริน(เกศรินทร์)บุญเลิศ ร.ร.ท.3บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (2)นางสาวปราถณา(ผาถะณา/พรรณนิภา) จันทร์สุปลูก ร.ร.ท.3 บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (3) นางสาวน้ำทิพย์ จันทร์สุปลูก ร.ร.ท.3 บุญวาทย์วิทยาลัย ม.ราชภัฏลำปาง (4) เด็กหญิงสร้อยแก้ว (สุกัญญา) เครื่องนิจ ร.ร.เค็นเน็ตแม็คเค็นซี-ร.ร.บุญวยาทย์วิทยาลัย (5) เด็กหญิงเกี๋ยงงเหมย
(บุรินทร์)เทียบรัตน์ ร.ร.อนุบาลลำปาง (6)เด็กหญิงปิมผะฟยา(พรรณิการ์)วงศ์มี ร.ร.อนุบาลฃลำปาง (7) เด็กหญงช่อเอื้อง (รัติกาล)รัตนชัย ร.ร.อนุบาลลำปาง(8) ด.ญ.เอื้องฟ้า (ณัฐกาล) เนื่องยินดี ร.ร.ผดุงวิทย์ (9) เด็กหญิงกิ่งแก้ว(ณัฐกุล) เนื่องยินดี ร.ร.ผดุงวิทย์ (10) เด็กหญิงตาลทิพย์ (จิรนันท์)พรมมูล ร.ร.ไตรภพวิทยา (11) เด็กหญิงช่อคำ (ปริมประภา) ขัดธิพงษ์ ร.ร.เขลางค์นคร (12) เด็กหญิงเก็ตถวา (โชษิตา) แก้วคำดี ร.ร.อัสสัมชัญลำปาง (13) เด็กหญิง
ประกายแก้ว (รัชนิดา) ปะระมะ และ(14) เด็กหญิงประกายคำ(วิภาดา)ปะระมะ ร.ร.เพ็ญจิตตพงษ์ เกาะคา

บุลากรร่วมกิจกรรมจากศูนย์แม่อักขระศิลปะข่งเจิงคือ (1) อาจารย์ศักเสริญ (ศักดิ์) รัตนชัย กรรมการสภาวัฒนธรรม หัวหน้าศูนย์ฯ (2)อาจารย์นงนุช ป่าเขียว สำนักวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง (3) อาจารย์ธิตารีย์ ตันสุรัน์ ร.ร.เทศบาล 3 (4) อาจารย์วิลาวัลย์ปะระมะ ร.ร.เพ็ญจิตตพงษ์ เกาะคา (5)อาจารย์ณัฐพร สำเนียง วิทยากรประจำศูนย์ฯ (6) อาจารย์อัญชลี บุญทรัพย์ วิทยาประจำศูนย์ (7) นางสมคิด เทียบรัตน์ กฟผ.แม่เมาะ(8) นางอำพร พงษ์โสภาวิจิตร ฝ่าย พิธีกรรมประจำศูนย์.



0

งานตำราสอนอักขรธรรมคำเมือง ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สืบเนื่องจากการเผยแพร่อักขรสูตรธรรมคำเมืองปีกาญจนาภิเษก ฉบับต่างๆ









หม่อมคำลือ เจ้าเมืองเชียงรุ่ง กับ ดร.ซีฮิล จากวิทยาลัยโยนก ลำปาง อ.ศักดิ์ รัตนชัย ผอ.สถาบันวัฒนธรรม
โยนก เป็นผู้ถ่าย ในโอกาสไปประชุมสัมนาประวัติศาสตร์นานาชาติเรื่องไทยศึกษา นครคุนหมิงปี 2533




ศาสตราจารย์ ดร.อุดม วโรดม์สิกจดิตถ์ ประธานพิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องภาษาท้องภิ่นกับความมั่นคงทางสังคม จัดโดยราชบัณฑิตสถาน ร่วยมกับกรมพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท และSIL.Internarion Pestaozzi Children's Foundation ที่จังหวัดเชียงใหม่ 25-26 มิถุนายน 2552



ประติมากรรมครูบามหาเถระ กัญจนาอรญญวสี ฝีมือพระครูวธิตพิพัฒนาภรณ์(มนตรี)วัดพระธาตุสุโทนมงคลคี หมู่ 5 ต.เด่นชัย จ.แพร่ ศรัทธาสร้างไว้บูขาประติมากรรมแม่อักขระ พระมหากังสดาล อ่างสะหรีบัวตอง ปีกาญจนาภิเษก โดยโยมศกดิ์ ส.รัตนชัย เป็นปฐมอบาสกอัญเชิญจากจังหวัดแพร่ สู่จังหวัดลำปาง
ในปีมหามังคลากาญจนาภิเษก























อักขระนิ้วมือ รูปอักษรคำว่า "นา"ตามวิธีการสอนแนวใหม่ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย สู่หลักสูตร รหัสวิชา ภาษาไทยถิ่นเหนือคำเมืองTHAI 102
คณะสังคมศาสตร์ฯมหาวิทยาลัยโยนก และรหัสวิชา 15421111 ภาษาไทยถิ่น Thai Dialects คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง









คณะกรรมการพัฒนาอักขรสูตรธรรมคำเมืองฉบับค้นพบปีกาญจนาภิเกสู่แผนการศึกษาทั้งจากสภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง และ
มหาวิทยาลัยโยนก โดยมีเจ้าคณะจังหวัดลำปางเป็นประธานกรรมการฝ่ายคณะสงฆ์จังหวัดลำปาง ประชุม ณ ห้องเรียน มจร.วิทยาเขตลำปาง

อาจารย์เทิม มีเเต็ม แห่งหอวชิรญาณ ที่ปรึกษาการสร้างตำราอักขรสูตรธรรมคำเมืองฉบับค้นพบปีกาญจนาภิเษกของคณะกรรมการอักขรสูตรลำปาง














มหาอักขระปฏิมา อ่างสะหรีบัวตองบูชาแม่อักขระ กับพระแท่นมหากังดาลแม่อักขระบาลี 41 ตัว ณ ศูนย์แม่อักชรศิลปะข่วงเจิงจุมสะหรีลำปางวัดกู

บทเพลงประกอบการละเล่นชาวอักขริกะ ชัดพยัญชนะ บ ค ห จากคำว่า บ่เกยหัน(ไม่เคยเห็น)



ชุดลีลาการละเล่นอักขระ ของนักระบำอักขริกา ตัว บ๋ะ (บไบไม้)ก๊ะ(ค ควาย)หนะ(หน.-)
โดยคณะนาฏศิลป์นักเรียนศูนย์แม่อักจขระศิลปะข่วงเจิงบจุมสะหรีลำปาง วัดกู่คำ




















































ระบำเพลง อักขระ วรรค ก ก๋ะ ขะ ก๊ะ ฆะ งะ (ก ข ค ฆ ง )ของนักเรียนจาก ร.ร.ต่างๆ ณ ศูนย์แม่อักขระศิลปะข่วงเจิง สถานที่นี้สอนเด็กแบบเมตตาศึกษาสงเคราะห์ทุวันเสาร์ อาทิตย์ 10.00-12.00 น.ในความอุปถัมภ์ของเจ้าอาวาสวัด กู่คำ ดำเนินติดต่อกันมาจากยุคสมัยเจ้าอาวาดวัดคะตึกเชียงหมั้น วัดบุญวาทย์วิหาร สู่วยัดกู่คำ นับแต่วันแม่แห่งชาติ จากชื่อศูนย์อบรมพุทธเยาวชนมาเป็นจุมสะหรีรวยมท 53 ปี




ศิลาจารึกครูบามหาป่ากาญจนะอรัญวาสิ จารึกไว้ที่หลวงพระบาง พ.ศ.2379 ที่แตกหายไปเกือบครึ่งแผ่น ทางลำปางได้หาความบัทึกไว้แต่สมัยคณะสำรวจจารึกประเทศพม่าสำรวจไว้ สู่ความอ่านได้สมบูรณ์
ในหนังสืออักขรสูตรธรรมคำมือง แบบค้นพบปีกาญจนาภิเษก



(A) พะโตก (B) สะตวง (C) ทุงลวง (D) ขันสาน




มหาอักขรปฏิมา ที่อ่างสะหรีบัวตองน้ำติพย์ วัดกู่คำลำปาง สร้างปีกาญจนาภิเษก น้ำหนัก 5 ตัน





ศิลาจารึก พ.ศ.2045ที่บอกชื่อชนเผ่าท้องถิ่น สมยเป็นข้าทาสกษัตริย์เชียงใหม่ ว่า"คนเมือง"



บทเรียนอักขระทางสื่อหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น คอลัมน์นาทีอักขรธรรม ของ ศักดิ์ ส.รัตนชัย




บทเรียนหน้าแผ่นปก แบบเรียนลัดอักขรธัมม์คำเมือง เทียบตำรา ก กา บาลีไทย ปีกาญจนาภิเษก






บทเรียน บะคำหะ "บ่เกยหัน " คะบะละ "ก็บ่ละ" จากการละเล่นอักขระนิ้วมือ



อักจระนิ้วมือ จากภาษาบาลี ที่ไทย ไต ลาว ลื้อ เขิน พม่า ร่วมอ่านได้ว่า "วา".



อาจารย์ศกดิ์ ส.รัตนชัย กับศิลาจารึกหลักครูบามหากัญจนอารัญวยาสี พ.ศ.2379
ณ วัดพระวิชุลหลวงพระบาง





อาจารย์ศักดิ์ส.รัตนชัย กับเจ้าอาวาสวัดวิชุลหลวง เมืองหลวงพระบาง



ตำรา การละเล่นปฐมวัยอักขริกะ ๑ ของอาจารย์ศักดิ์ ส.รัตนชัย ในทะเบียนหอจดหมายเหตุแห่งชาติ












ภาพจากกรมศิลากร วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าพระราชทานเข็มวันมรดกไทย เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2552 ณ พิพิธภณฑสถานแห่งชาติ จากการคัดเลือกของสำนักศิลปากรที่ 7 น่า โดยมีข้อความในรายงานตอนหนึ่งว่า คิดวิธีสอนอักขระนิ้วมือ..เข้ากับการสาธิตบรรยายในพิธภัณฑ์(เกี่ยวกับอักขระ 12 ขั้นตอนการผลิตสิ่งทอ)แก่ครูและนักเรียนสามารถแพร่ศิลปะการแสดง




อักษรธรรมบาลีภาษาตามอักขรสัณฐานแบบสุโขทัย พบในจารึกลานทองสมเด็จพระมหาเถรจุฑามณิ พ.ศ.1919 คู่กับอักษรไทยภาษาไทย





ศิลาจารึก นน ๔ วัดช้างค้ำ พ.ศ.๒๐๙๑ เรื่องพระยาเทพฤาไชยสร้างพระวิหารที่น่าน








วนสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตร งานนิทรรศการตำนานอักขระของ
ผู้นวยการสถาบันศิลปวัฒนธรรมโยนก เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2539



บทเรียนนาทีอักขรธัมม์เรื่อง รถม้ายารถยนต์ (ถ่าวยที่ตาลี)















0




















































วันเจ้าหน้าที่หอจดหมายเหตุมารับบลานภาษาขอมจากภาคอีสานส่มาที่หอจดหมายเหตุมรดกบุคคลเครือข่ายภาคเหนือมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางบ ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยวาลัยราข-ภัฏลำปาง












ผศ.ดร.สมาน ฟูแสง คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ในวันพิธีเปิดการอบรมวิชาอักขรสูตรธรรมคำเมือง



ผลงานอาจารย์ปวีณา ขุ่มเบี้ย อาจารย์ ๓ ทางอักขระภาษาไทยถิ่น อักขรธัมม์คำเมืองแห่ง ร.ร.แม่เมาะวิทยา ระหว่างทำวิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การสอน